Toggle navigation
เข้าสู่ระบบ
ลืมบัญชีผู้ใช้
เข้าสู่ระบบ
ลืมบัญชีผู้ใช้
ติดต่อเรา
02-064-5359
@Yesistyle
เข้าสู่ระบบ
ลืมบัญชีผู้ใช้
เข้าสู่ระบบ
ลืมบัญชีผู้ใช้
หรือ
Login
Login
สมัครสมาชิก
×
×
ท่านได้ออกจากระบบจากอุปกรณ์นี้แล้ว เนื่องจากมีการ login จากอุปกรณ์อื่น
กำลังส่งข้อมูล....
หน้าแรก
วิชาการ
ประถมศึกษา
ป.3
ภาษาไทย ประถมศึกษา
ตอนที่ 02 ชนิดของคำ
ภาษาไทย ป.3
ความนิยม
ชื่นชอบ
ชื่นชอบ
ครูอุ้ม ลฎาภา สอนเฉลิม
ตอนที่ 02 ชนิดของคำ
ภาษาไทย ป.3
คำอธิบายคอร์สออนไลน์
คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ แบ่งเป็น2ชนิด คือ สามานยนาม เป็นคำนามที่ใช้เรียกทั่วๆไปไม่ชี้เฉพาะหรือไม่เจาะจง และวิสามานยนาม เป็นคำนามที่ใช้เรียกชื่อที่ชี้เฉพาะเจาะจง ; คำสรรพนาม เป็นคำที่ใช้แทนคำนาม และที่ใช้ในการสนทนากัน เรียกว่าบุรุษสรรพนาม ซึ่งแบ่งเป็น3ชนิด 1.)สรรพนามบุรุษที่1 ใช้แทนตัวผู้พูด สรรพนามบุรุษที่2 ใช้แทนตัวผู้ฟัง และสรรพนามบุรุษที่3 ใช้แทนตัวผู้ที่เรากล่าวถึง ; คำกิริยา คือคำที่แสดงอาการหรือการกระทำของนามและสรรพนามซึ่งเป็นประธานในประโยคแบ่งเป็น2ชนิดคือ กริยาที่ไม่ต้องมีกรรม และกิริยาที่ต้องมีกรรม ; กรรม คือสิ่งที่ถูกกระทำ
ความคิดเห็น
รีวิว
โหลดความคิดเห็นก่อนหน้า
ยังไม่มีความคิดเห็น
ความคิดเห็น
โหลดความคิดเห็นก่อนหน้า
ยังไม่มีความคิดเห็น
เขียนรีวิว
ให้คะแนนความพึงพอใจ
วีดีโอที่เกี่ยวข้อง
มาตราตัวสะกด ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 01 มาตราตัวสะกด
ภาษาไทย ป.3
คำที่มี ฤ ฤา ฑ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 03 คำที่มี ฤ ฤา ฑ
ภาษาไทย ป.3
คำที่ใช้ บัน บรร ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 04 คำที่ใช้ บัน บรร
ภาษาไทย ป.3
คำที่มี รร ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 05 คำที่มี รร
ภาษาไทย ป.3
คำที่มีประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ (คำที่มีเสียง อะ) ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 06 คำที่มีประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ (คำที่มีเสียง อะ)
ภาษาไทย ป.3
คำที่มีตัวการันต์ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 07 คำที่มีตัวการันต์ ภาษาไทย ป.3
คำพ้อง ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 08 คำพ้อง ภาษาไทย ป.3
การแต่งประโยคเพื่อการสื่อสาร ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 09 การแต่งประโยคเพื่อการสื่อสาร ภาษาไทย ป.3
คำคล้องจอง ความหมายและคำขวัญ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 10 คำคล้องจอง ความหมายและคำขวัญ ภาษาไทย ป.3
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 11 ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ภาษาไทย ป.3
คำที่มีอักษรนำ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 12 คำที่มีอักษรนำ ภาษาไทย ป.3
มารยาทในการเขียน การฟัง การดูและการพูด ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 13 มารยาทในการเขียน การฟัง การดูและการพูด ภาษาไทย ป.3
การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (นิทาน เรื่องสั้น) ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 14 การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (นิทาน เรื่องสั้น) ภาษาไทย ป.3
การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (วรรณคดีและวรรณกรรม) ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 15 การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (วรรณคดีและวรรณกรรม) ภาษาไทย ป.3
การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (เพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็ก) ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 16 การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (เพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็ก) ภาษาไทย ป.3
การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (บทร้อยกรองและบทอาขยาน) ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 17 การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ (บทร้อยกรองและบทอาขยาน) ภาษาไทย ป.3
การเขียน ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 18 การเขียน ภาษาไทย ป.3
การผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 19 การผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ ภาษาไทย ป.3
การใช้พจนานุกรม ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 20 การใช้พจนานุกรม ภาษาไทย ป.3
การประสมอักษร ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 21 การประสมอักษร ภาษาไทย ป.3
การประสมอักษร ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 21 การประสมอักษร ภาษาไทย ป.3
คำควบกล้ำ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 22 คำควบกล้ำ ภาษาไทย ป.3
คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 23 คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง ภาษาไทย ป.3
ความหมายของคำ ภาษาไทย ป.3
ตอนที่ 24 ความหมายของคำ ภาษาไทย ป.3
ดูล่าสุด
×
ต้องการใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี
ชื่อ-สกุลผู้รับ/บริษัท *:
หมายเลขบัตรประชาชน/เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร*:
โทรศัพท์ :
ที่อยู่ *:
บันทึกที่อยู่
ครูอุ้ม ลฎาภา สอนเฉลิม
ตอนที่ 02 ชนิดของคำ
ภาษาไทย ป.3
คำอธิบายคอร์สออนไลน์
คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ แบ่งเป็น2ชนิด คือ สามานยนาม เป็นคำนามที่ใช้เรียกทั่วๆไปไม่ชี้เฉพาะหรือไม่เจาะจง และวิสามานยนาม เป็นคำนามที่ใช้เรียกชื่อที่ชี้เฉพาะเจาะจง ; คำสรรพนาม เป็นคำที่ใช้แทนคำนาม และที่ใช้ในการสนทนากัน เรียกว่าบุรุษสรรพนาม ซึ่งแบ่งเป็น3ชนิด 1.)สรรพนามบุรุษที่1 ใช้แทนตัวผู้พูด สรรพนามบุรุษที่2 ใช้แทนตัวผู้ฟัง และสรรพนามบุรุษที่3 ใช้แทนตัวผู้ที่เรากล่าวถึง ; คำกิริยา คือคำที่แสดงอาการหรือการกระทำของนามและสรรพนามซึ่งเป็นประธานในประโยคแบ่งเป็น2ชนิดคือ กริยาที่ไม่ต้องมีกรรม และกิริยาที่ต้องมีกรรม ; กรรม คือสิ่งที่ถูกกระทำ